พุทธธัมมเจดีย์อริยสัจจากพระโอษฐ์

พิมพ์คำค้นหาแล้วกดส่ง

อริยสัจจากพระโอษฐ์ > ภาค ๓ > นิทเทศ 12 ว่าด้วย อาการดับแห่งตัณหา > (เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี).
«
»

หน้า:

(เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี).

ปรับขนาด: 16px

-(เกี่ยวกับเรื่องการทำความหลุดพ้นเพราะความสิ้นไปแห่งตัณหาซึ่งตรัสไว้โดยสังเขปดังตรัส ในสูตรข้างบนนี้ ในสูตรอื่น (มู. ม. ๑๒/๔๗๐/๔๓๙ ; สตฺตก.อํ. ๒๓/๙๐/๕๘) ได้ตรัสไว้ว่า ภิกษุ ที่ได้สดับแล้วว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น ชื่อว่ารู้ยิ่งธรรมทั้งปวงรอบรู้ธรรมทั้งปวง เสวยเวทนาใด ๆ เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ความจางคลาย ความดับ ความสลัดคืนในเวทนานั้น ๆ ประจำ ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก ไม่สะดุ้งหวาดเสียว ปรินิพพานเฉพาะตน, ดังนี้ก็มี).

สักกายนิโรธ

ภิกษุ ท. ! สักกายนิโรธ เป็นอย่างไรเล่า ?

ภิกษุ ท. ! ความจางคลายดับไปไม่เหลือ ความสละทิ้ง ความสลัดคืน ความปล่อย ความทำไม่ให้มีที่อาศัย ซึ่งตัณหานั้นนั่นเอง.

ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า สักกายนิโรธ.

เสียงอ่าน
อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง:
1272-สักกายนิโรธ.mp3
ภิกขุเอเอ อธิจิตฺโต:
510-สักกายนิโรธ.mp3

อ้างอิง
ไทย: - ขนฺธ.สํ. 17/194/289.
บาลี: - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๙๔/๒๘๙.

AI ช่วยอ่าน

กรุณาคัดลอกและวางพระสูตรในช่องนี้เพื่อฟังเสียง

×

สารบัญหนังสือ